รองศาสตราจารย์พัฒนะ เรือนใจดี 

ประวัตินักวิจัย 

ปรับปรุง 2564

 

ประวัติโดยย่อ

ชื่อ – นามสกุล นายพัฒนะ  เรือนใจดี

วัน เดือน ปีเกิด ๑๐ มิถุนายน ๒๕๑๓   อายุ  ๔๙  ปี

ประวัติการศึกษา

- นิติศาสตร์บัณฑิต(เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- นิติศาสตร์มหาบัณฑิต (กฎหมายมหาชน) มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- พัฒนบริหารศาสตร์มหาบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

- MINI. LL.M. (ARBITRATION)

- DIP. IN Current Management Practices & Leadership in Global Perspective at Marathwada University in India

- DIP.IN THE MANAGEMENT OF TECHNOLGY INNOVATION AND CHANGECALIFORNIASTATEUNIVERSITY OF POMONA U.S.A

 

ประวัติการทำงาน

เข้ารับราชการ/เป็นพนักงานมหาวิทยาลัย ประเภทตำแหน่งวิชาการ เมื่อวันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๑ สังกัด ภาควิชากฎหมายมหาชน รวมระยะเวลา ๒๐ ปี

- กรรมการสอบสวนและกฎหมายสมาคมตำรวจ

- รองอธิการบดีฝ่ายกิจการพิเศษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- จัดรายการเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายรายการ “ดูช่องส่องกฎหมาย ททบ .๕” และรายการ“คุย

กฎหมายกับ อ.พัฒนะ ช่อง RU TV”

- ผู้อำนวยการสำนักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- ได้รับเกียรติบัตรและโล่เกียรติยศ เป็นคนดีศรีสังคมศาสตร์ (ประเภทผู้ทรงคุณวุฒิดีเด่น)และ คนดีศรีเทคโนฯ จากมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัยและ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ตามลำดับ

- รับผิดชอบการเรียนการสอนและบริหารหลักสูตรในระดับปริญญาตรี คณะนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

- กรรมการบริหารหลักสูตรปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์

- ผู้ประสานงานหลักสูตรปริญญาโท รัฐประศาสนศาสตร์ วิทยาเขต ตรัง

- สมาชิกสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (๒ สมัย)

- กรรมการจริยธรรมในการวิจัย คณะเภสัชกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

- ที่ปรึกษาด้านกฎหมาย สหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จำกัด

- ผู้จัดรายการเผยแพร่ความรู้ทางกฎหมายแก่ประชาชนรายการ “รู้กฎหมายง่ายนิดเดียว” ทางคลื่น FM. 88 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

-รองหัวหน้าภาควิชา รัฐประศาสนศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

- ผู้บรรยายหลักสูตรการพัฒนานักกฎหมายท้องถิ่น ระดับกลาง รุ่นที่ 1 สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

- ได้รับการโปรดเกล้าแต่งตั้ง เป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สภามหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ

- รองอธิการบดีฝ่ายเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง

- ประธานกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์

- รองประธานกรรมการฝ่ายวิชาการ สภาทนายความ ในพระบรมราชูปถัมภ์



ผลงานทางวิชาการ/วิจัย

ปัญหาการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง



ตำแหน่งหน้าที่ในปัจจุบัน

- รับผิดชอบการเรียนการสอนในภาควิชา กฎหมายมหาชนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ทั้งในระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษา

- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิคณะสังคมศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย 

- กรรมการและประธานสอบวิทยานิพนธ์,ดุษฎีนิพนธ์ ม. ABAC, ม.เกริก,ม.ธุรกิจบัณฑิต,

ม.รามคำแหง

- อาจารย์พิเศษ มหาวิทยาลัยรัตนบัณฑิต , ม. เจ้าพระยา , ม.หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ,

ม. เกริก , ม.ราชภัฎบุรีรัมย์ , ม.ราชภัฏราชนครินทร์, ม.ตาปี ,สงขลานครินทร์, ม.ศรีปทุม

- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ อ่านผลงานทางวิชาการ(ขอตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ,

รองศาสตราจารย์) และผู้บรรยาย ระดับปริญญาตรี- โท- เอก มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

- คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรระดับปริญญาตรี สาขานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

- วิทยากรจัดรายการ “กฎหมายหน้า 1 ช่อง โทรทัศน์รัฐสภา”

- ได้รับการโปรดเกล้าแต่งตั้ง เป็น กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร 

-คำสั่งองค์การคลังสินค้า ที่ 106/2564 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด

 

ผลงานทางวิชาการ (ตำรา , บทความ)

-พัฒนะ เรือนใจดี . กฎหมายธุรกิจ .กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. ๒๕๓๗.

-_______________. ทฤษฎีองค์การและการจัดการ. กรุเทพ ฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. ๒๕๓๗.

-_______________. การประกันภัย. : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. ๒๕๓๘.

-_______________. การภาษีอากร. : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. ๒๕๓๘.

-_______________. คู่มือเตรียมสอบเข้าปริญญาโทนิติศาสตร์ : กรุงเทพฯ : พิมพ์ที่ บริษัทสกายบุ๊กส์ จำกัด พ.ศ. 

๒๕๓๘

-_______________. กฎหมายอาญา ๒. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. ๒๕๔๓

-_______________. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป. สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. ๒๕๔๕.

-_______________. ข้อสังเกตบางประการจากพระราชบัญญัติว่าด้วยข้อสัญญาอันไม่เป็นธรรม

-_______________. (บทความ) วารสารวิทยาการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ ม. สงขลานครินทร์.ปีที่ ๑๘   ฉบับที่ ๒ (ก.ค.- ธ.ค. ) พ.ศ. ๒๕๔๓. และตีพิมพ์ในวารสารรัฐสภาสารปีที่ ๕๐ฉบับที่ ๙ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๔๕.

-_______________. ปัญหาการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่ส่งผลกระทบถึงประชาชน : ศึกษากรณีการใช้ดุลพินิจของสำนัก การช่างในเทศบาลนครทั่วภาคใต้ (บทความ) วารสารพัฒนบริหารศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. (NIDA) ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๔ (ต.ค. – ธ.ค.) ๒๕๔๔. และตีพิมพ์ในวารสารดุลพาห ปีที่ ๔๘ เล่มที่ ๓ (ก.ย.- ธ.ค. ) พ.ศ. ๒๕๔๔.

-_______________. ปัญหาการใช้ดุลพินิจและอำนาจผูกพันที่ราชการส่วนภูมิภาคใช้และมีผลกระทบ ถึงราชการ 

ส่วน ท้องถิ่น ศึกษากรณีดุลพินิจและอำนาจผูกพันของผู้ว่าราชการจังหวัด นาอำเภอ ที่มีผลกระทบต่อองค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัดสงขลา ปัตตานี พัทลุง ตรัง และภูเก็ต. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (บทความ) วารสาร ดุลพาห ปีที่ ๔๙ ปีที่ ๑ (ม.ค.-เม.ย.) พ.ศ. ๒๕๔๕.

-_______________. แหวกช่องโหว่กฎหมาย (เล่ม ๑ - ๖ ). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์บุ๊กส์แบงค์ พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๙.

-_______________. กฎหมายพรรคการเมือง (LW ๔๑๒) . โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. ๒๕๕๒

-_______________. กฎหมายว่าด้วยระบบพรรคการเมือง (LAW 3052). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. 2561

ผลงานการวิจัย

- พัฒนะ เรือนใจดี. ศาลรัฐธรรมนูญ (The constitution court). กรุงเทพ ฯ มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. ๒๕๓๗.

-_______________. Reorganization กรณีศึกษาองค์การเภสัชกรรม. กรุงเทพฯ : สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร  

ศาสตร์ พ.ศ. ๒๕๓๗.

-_______________. ผลกระทบทางเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงระหว่างประเทศของ การลักลอบขนสินค้ารายตามแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย ศูนย์ศึกษาเพื่อพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย (อินโด-มาเลย์-ไทย) IMT- GT Studies Center มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๒๕๔๒ (วิจัยร่วม)

-_______________. ผลกระทบจากนโยบายการเงินระหว่างประเทศของมาเลเซียต่อกาค้าและการลงทุนในเขต

พื้นที่โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายฯ (อินโด-มาเลย์-ไทย) IMT- GT Studies Centerมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ๒๕๔๒ (วิจัยร่วม)

-_______________. ปัญหาการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่ส่งผลกระทบถึงประชาชน : ศึกษากรณี  การใช้ดุลพินิจของสำนักการช่าง เทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,พ.ศ. ๒๕๔๒

-_______________. ปัญหาการใช้ดุลพินิจของเจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครองที่ส่งผลกระทบถึงประชาชน : ศึกษากรณีการใช้ดุลพินิจของสำนักการช่าง ในเทศบาลทั่วภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,พ.ศ. ๒๕๔๔

-_______________. ปัญหาการใช้ดุลพินิจและอำนาจผูกพันที่ราชการส่วนภูมิภาคใช้ และมีผลกระทบถึงราชการ 

ส่วนท้องถิ่น ศึกษากรณีดุลพินิจและอำนาจผูกพันของผู้ว่าราชการ จังหวัด นายอำเภอ ที่มีผลกระทบต่อองค์การบริหารส่วนตำบล ในจังหวัด สงขลา ปัตตานี พัทลุง ตรัง และภูเก็ต .มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ๒๕๔๕

-_______________. ปัญหาการใช้ดุลพินิจ และอำนาจผูกพันที่ราชการส่วนกลางและราชการส่วนภูมิภาคใช้และ  มีผลกระทบกับองค์การบริหารส่วนจังหวัดในภาคใต้ตอนล่าง , ๒๕๔๖.

-_______________. การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการจัดการภัยพิบัติท้องถิ่น : กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลก่อเอ้ อำเภอเขื่องใน จังหวัดอุบลราชธานี,(วิจัยร่วม),วารสารวิชาการ ธรรมทรรศน์, ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม – เมษายน 2561.

-_______________. Some observations on the Constitution of the Kingdom of Thailand, B.E. 2560 (2017) Internation Journal of Management and Economics, VoI1. No 25 September 2018, Chet on Publications Aurangabad India.

-_______________. “ปัญหาการยึด อายัดและการขายทอดตลาดตามคำสั่งทางปกครอง ตาม พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๙ PROBLEMS OF SEIZURE, SEIZURE AND AUCTION OF ADMINISTRATIVE ORDERS UNDER THE ADMINISTRATIVE PROCEDURE ACT BE 1996”,วารสารมหาจุฬาฯ วิทยาเขตแพร่ ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–มิถุนายน ๒๕๖๒).



บทความ

-พัฒนะ เรือนใจดี ศาลรัฐธรรมนูญภิวัฒน์. รัฐสภาสาร ปีที่ ๕๗ ฉบับที่ ๕๗ ฉบับที่ ๙ เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒.

-_______________. ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญใหม่ รัฐสภาสาร ปีที่ ๕๙ เดือนสิงหาคม

พ.ศ. ๒๕๕๑

-_______________. Collective Responsibility ในรัฐธรรมนูญไทย สรรพากรสาสน์ เดือนสิงหาคม พ.ศ.๒๕๔๘.

-_______________. ปัญหาทางกฎหมาย เกี่ยวกับที่มา ของ ส.ส. และ ส.ว. ตามรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช ๒๕๕๐

รัฐสภาสาร ปีที่ ๕๕ เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๓

-_______________. ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับกฎหมายพรรคการเมือง รัฐสภาสาร ปีที่ ๕๖ เดือนกันยายน

พ.ศ. ๒๕๕๔

-_______________. ข้อคิดบางประการจากธรรมนูญชั่วคราว พ.ศ. 2557 รัฐสภาสาร ปีที่ ๖๒ เดือนธันวาคม

พ.ศ. ๒๕๕๗

-_______________. “๖ องค์กรขับเคลื่อนกำหนดกรอบและเนื้อหา”  นสพ. ข่าวสด เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

-_______________. “รัฐธรรมนูญใหม่กับทิศทางองค์กรอิสระ”  นสพ. ข่าวสด เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๗

-_______________. “กระจกสะท้อนบทบาท กกต.”  นสพ. ข่าวสด เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

-_______________. “แนะทางออกไทยพ้นแรงต้าน ‘อียู’ ”  นสพ. ข่าวสด เดือนมิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๗

-_______________. “ทรรศนะนักวิชาการเลือก ‘นายกฯ-ครม.’ โดยตรง”  นสพ. มติชน เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗

-_______________. “นานาทัศนะ ตั้งคำถาม-ห้ามคำตอบ”  นสพ. ข่าวสด เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

-_______________. “นานาทัศนะ ม. 44 แทนกฎอัยการศึก”  นสพ. ข่าวสด เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

-_______________. “กฎหมายลูก โรดแม็ป ก่อนเลือกตั้ง”  นสพ. ข่าวสด เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘

-_______________. “อำนาจ ม.44”  นสพ. ข่าวสด เดือนเมษายน พ.ศ. ๒๕๕๘

-_______________. “ส่อง ‘ศาลการเมือง’”  นสพ. ข่าวสด เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

-_______________. “คำถามประชามติ-ควรมีหรือไม่”  นสพ. ข่าวสด เดือนสิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

-_______________. “ตีความ ‘เสียงข้างมาก ผู้มีสิทธิ กับ ผู้มาใช้สิทธิ’”  นสพ. มติชน เดือนกันยายน พ.ศ. ๒๕๕๘

-_______________. “กรอบ คสช สู่ร่างรัฐะรรมนูญ”  นสพ. ข่าวสด เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๘

-_______________. “คำสั่งทางปกครองคดีจำนำข้าว”  นสพ. ข่าวสด เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

-_______________. “ทรรศนะนักวิชาการเลือก ‘นายกฯ-ครม.’ โดยตรง”  นสพ. มติชน เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘

-พัฒนะ เรือนใจดี. “เสียงสะท้อนรัฐดูแล ‘คลื่นความถี่’ ตั้งองค์กรใหม่ ”  นสพ. มติชน เดือนมกราคม พ.ศ. ๒๕๕๙

-_______________. “บทเรียนคดียุบพรรค ทรท.”  นสพ. ข่าวสด เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๙

-_______________. “กกต.กับการจัดการเลือกตั้งท้องถิ่น”  นสพ. ข่าวสด เดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

-_______________. ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับกฎหมายพรรคการเมือง พ.ศ.2560 (Some observations on the Organic Act on Political Parties,2560) วารสารนิติศาสตร์และท้องถิ่น คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2560)

-_______________. “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 ” รัฐสภาสาร ปีที่ 65 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 

-_______________. “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับกฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันพุทธศักราช 2560”รัฐสภาสาร ปีที่ 66 เดือนมีนาคม- เมษายน พ.ศ. 2561

-_______________. “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ศาลรัฐธรรมนูญ ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2560”การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2561,มหาวิทยาลัยราชภัฏ บุรีรัมย์

-_______________. “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้ง ตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พ.ศ. 2560”การประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับชาติ สมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย ครั้งที่ 7 พ.ศ. 2561,มหาวิทยาลัยราชภัฏ บุรีรัมย์

-_______________. “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับคณะกรรมการสรรหาองค์กรอิสระ ตามรัฐธรรมนูญแห่ง

ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560”วารสารสหวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 2 ฉบับ ที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม 2561 – ธันวาคม 2561.

-_______________. “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับวิธีการคิดคะแนนแบบจัดสรรปันส่วนผสมตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช  2560”รัฐสภาสาร ปีที่ 67 เดือนมกราคม- กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562

-_______________.  “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับอำนาจคณะกรรมการการเลือกตั้ง Some observations about the power of the Election Commission ”วารสารสหวิทยาการจัดการ  คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ปีที่ 3 ฉบับ ที่ 2 ประจำเดือน กรกฎาคม 2562 – ธันวาคม 2562.

-_______________.  “วิเคราะห์ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับภาษีการรับมรดก พ.ศ. 2558 : Analyze The Legal Problems Regarding The Inheritance Tax Act 2015” วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตแพร่ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม - ธันวาคม 2562)

-_______________.  “ข้อสังเกตบางประการเกี่ยวกับพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของ  

ศาลรัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2561”  “Some observations on the Organic Act on  Procedures of the Constitutional Court of 2018”รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 การบริหารองค์กรในยุค Disruptive Technology  คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร วันที่ 13 มีนาคม 2564..